วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2559

เกิดการผันผวนขึ้นกับeurjpy

เมื่อเวลา11.18.น.Bank of Japan ประกาศอัตราดอกเบี้ยคงที่-10%ซึ่งส่งผลให้เกิดการผันผวนขึ้นกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราeurjpyเมื่อเวลา11.15.น.โดยeurjpyขยับขึ้นและลงอย่างรวดเร็วและมีการเปลี่ยนแปลงหลายจุด และอีก5นาทีต่อมา เมื่อเวลา11.20.น.eurjpyกลับขึ้นมาอีกครั้งซึ่งการผันผวนนี้ยังคงเกิดขึ้น และอีก10นาทีต่อมาหรือเวลา11.30.น. อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างสกุลเงินยูโรแลกเปลี่ยนเงินสกุลเยนพุ่งขึ้นทะลุราคาผันผวนที่เกิดขึ้นก่อนหน้านี้ การผันผวนนี้ครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากราคาสินทรัพย์eurjpyเคลื่อนที่จากราคาไซด์เวย์ร่วงลงและพุ่งขึ้นและร่วงลงและเมื่อเวลา11.30.น.eurjpyพุ่งขึ้นสู่ราคา114.184


การเคลื่อนที่ของราคาสินทรัพย์eurjpyในกรอบไทม์เฟรม5นาทีหรือM5

กราฟแท่งแรกเมื่อเริ่มเกิดการผันผวนเมื่อเวลา11.15.น.
113.809 - 112.511 = 1.298 หรือ 1298จุด(ปิปpip)

กราฟแท่งที่สองหลังจากเริ่มเกิดการผันผวนเมื่อเวลา11.20.น.
113.320 - 112.844 = 0.476 หรือ 476จุด(ปิปpip)

กราฟแท่งที่สามหลังจากเกิดการผันผวนเมื่อเวลา11.25.น.
113.972 - 113.196 = 0.776 หรือ 776จุด(ปิปpip)

จะเห็นได้ว่ากราฟในกรอบไทม์เฟรม5นาทีหรือM5แสดงให้เห็นการเคลื่อนที่ของราคาสินทรัพย์อย่างละเอียดไทม์เฟรมให้ดูมุมด้านซ้ายบนของกราฟราคาสินทรัพย์ เช่น eurjpy, H4 หมายถึง กราฟราคาสิมทรัพย์eurjpyในกรอบไทม์เฟรม4ช.ม.นั่นเองครับ


ราคาสินทรัพย์eurjpyในรอบไทม์เฟรม4ช.ม.หรือH4


ราคาสินทรัพย์eurjpyในรอบไทม์เฟรม1ช.ม.หรือH1


ราคาสินทรัพย์eurjpyในรอบไทม์เฟรม15นาทีหรือM15

การสร้างเส้นtrendlineให้ดูบทความเก่า